Europea-Governance-public

ข้อมูลความรู้ ประวัติการปกครองในภาคพื้นยุโรป

หากจะย้อนกลับไปถึงความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ยุคอดีตทวีปยุโรปจัดเป็นทวีปที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดเลยก็ว่าได้ สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นมาจากประวัติศาสตร์ที่ถูกเขียนสืบทอดต่อกันมาเป็นลายลักษณ์อักษรที่มีความชัดเจนไม่ใช่การปรุงแต่งใดๆ ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ทวีปยุโรปในยุคก่อนหน้าจึงมักมีพัฒนาการในด้านต่างๆ ไปได้รวดเร็วมากกว่าคนในทวีปอื่นๆ เช่นเดียวกับเรื่องของการปกครองที่มีความน่าสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการของทวีปยุโรปอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว เพราะพัฒนาการการปกครองของยุโรปนั้นส่งผลถึงระบอบการ

Continue Reading
people-impact-on-politics

ประชาชน คือส่วนสำคัญในการกำหนดทิศทางของการเมืองในประเทศ

                การเมือง คือสิ่งที่มาพร้อมกันประชาชนมีไว้เพื่อควบคุมประชากรในประเทศมีการดำรงชีวิตที่เป็นระบบระเบียบ และแน่นอนว่าการเมืองจะเกิดขึ้นได้จำเป็นต้องมีประชาชนที่ให้ความสำคัญที่มากพอ เพราะประชาชนจะต้องแสดงสิทธิ ร่วมถึงบทบาทที่ตนเองจะต้องแสดงออกมาเช่น การเลือกตั้ง หรือการคัดสรรค์สิ่งต่างๆ ที่ตนจะที่สิทธิมีเสียงในด้านการเมือง ดังนั้นหากเราจะบอกว่าสิทธิต่อการเมืองก็คือ Political Participation หมายความว่า ประชาชนจำต้อง

Continue Reading
travel-impact-on-politics

การเมืองมีส่วนสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวอย่างสูงในยุคปัจจุบัน

            ปัจจุบันนี้มีตัวเลือกอย่างมากมายในการท่องเที่ยวไม่ว่าจะเป็นในยุโรป หรือเอเชียล้วนแต่มีจุดสนใจในการดึงดูดในนักท่องเที่ยวต่างชาติอยากจะไปหาประสบการณ์ใหม่ๆ ทั้งนั้น และที่สำคัญกว่านั้นเศรษฐกิจท่องเที่ยวในแต่ละประเทศ คือส่วนสำคัญของการสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศทั้งสิ้น ทั้งในเรื่องเงินที่จะเข้าสู่ประเทศชาติและในด้านชื่อเสียงของประเทศเองก็ตามที ทั้งนี้ไม่เว้นแม้กระทั้งประเทศไทยเราเองก็ตามที่มีชาวต่างชาติมากมาย เข้ามาท่อง

Continue Reading
democracy-politics-picture

ความหมายของคำว่า “การเมือง” และความสำคัญต่อมนุษย์

การเมือง คือสิ่งที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากมายในปัจจุบันต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งหากย้อนกลับไปแต่เดิมนั้นมนุษย์ในยุคแรกเริ่ม หรือในสมัยที่ยังไม่รู้จักคำว่า “การเมืองและการปกครอง” ในสมัยนั้นเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อของยุคว่า “ยุคหิน” นั่นเอง ซึ่งหากเราย้อนไปดูประวัติความเป็นมาหรือศึกษาในการดำรงชีวิตของคนในยุคหินนั้น จะเห็นได้ว่ามนุษย์ในยุคหินล้วนแต่จะอาศัยกันเป็นกลุ่มเล็กๆ 20 คน ถึง 100 คน โดยประมาณ หรือบางชนเผ่าจะอาศัยอยู่ในถ้ำเท่านั้น จึง

Continue Reading
sebastian-kurz-new-change-australia

Sebastian Kurz ผู้สร้างปรากฏการใหม่แก่การเมืองออสเตรีย

วงการการเมืองนั้นส่วนใหญ่ก็จะมีแต่เหล่าบรรดาผู้บริหารที่มากประสบการณ์และอายุในการที่จะเข้ารับดำรงตำแหน่งในการบริหารส่วนต่างๆ ภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการที่จะต้องไต่เต้าเพื่อจะมีหน้ามีตาในประเทศหรือให้ประชาชนรู้จักไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่ายๆ เลย แต่นั้นไม่มีปัญหาสำหรับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ อย่าง “เซบาสเตียน เคิร์ซ” ที่เขารับดำรงตำแหน่งด้วยวัยเพียง 27 ปี เท่านั้น ซึ่งนับว่าเป็นประวัติศาสตร์ใหม่ของการเมืองออสเตรียที่มีรัฐตรีว่าการต่างประเทศที่อายุน้อยที่สุด ในเวลานี้นับว่าเคิร์ซกลายเป็นจุดสนใจไม่น้อยเลยจากเหล่าคนในแวดวงการเมือง เพราะด้วยความที่อายุเพียงแค่ 27 ปี เท่านั้น จึงทำให้เขาถูกจับตามองเป็นพิเศษด้วยความที่อาจจะยังอ่อนในเรื่องประสบการณ์ แต่นั้นไม่ได้เป็นปัญหาเลย เคิร์ซบริหารและจัดการในด้านการเมืองในตำแหน่งที่ตนเองรับผิดชอบได้อย่างดีเยี่ยม และล่าสุดในปี 2013 เคิร์ซก็ยังถูกได้รับความไว้วางใจจากประชาชนอย่างต่อเนื่อง เพราะเคิร์ซได้เสนอนโยบายในด้านการเมืองที่สามารถเอาใจประชาชนได้อย่างดีคือ การต่อต้านการเหยียดสีผิวอย่างเต็มที่ จึงทำให้เคิร์ซสามารถสร้างปรากฏการหน้าใหม่แก่การเมืองออสเตรียและยังเป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักการเมืองที่อายุยังน้อยอีกมากมาย และในอนาคตเราอาจจะเห็นนักการเมืองที่อายุน้อยกว่าเคิร์ซ ในวัย 27 ปี ที่เข้ารับตำแหน่งและมีบทบาทในการเมืองอย่างแน่นอน และนับว่าออสเตรียมีความเสมอภาคในด้านการเมืองเป็นอย่างดีหากมองจากการที่เคิร์ซสามารถมายืนในจุดนี้ได้อย่างเข้มแข็ง และได้รับการสนับสนุนจากประชากรในประเทศอย่างต่อเนื่อง เป็นเรื่องดีที่ออสเตรียมีเสรีภาพในด้านการเมืองมากขนาดนี้ แต่ถ้าหากพูดถึงเรื่องผู้ที่มีบทบาทในการเมืองที่มีอายุน้อยที่สุดในประเทศไทยเรานั้น ก็คือ นายกยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หรือนายกปู ช่วงที่รับใช้บ้านเมืองในบทบาทนายกรัฐมนตรีเวลานั้นมีอายุเพียง 44 ปีเท่านั้นเอง

Continue Reading
asean-public-chang-plitics

อาเซียน สิ่งที่จะเข้ามาเปลี่ยนการเมืองให้เป็นในรูปแบบใหม่

           อีกไม่กี่อึดใจแล้วที่ประเทศไทยเราจะเข้าร่วมอาเซียนกับชาติอื่นๆ กับอีก 10 ประเทศ อย่าง 1.สิงคโปร์ 2.บรูไน 3.มาเลเซีย 4.อินโดนีเซีย 5.อาเซียน 6.ฟิลิปปินส์ 7.เวียดนาม 8.กัมพูชา 9.ลาว 10.พม่า โดยใน 11 ประเทศทั้งหมดนี้ นับได้ว่า สิงคโปร์มีจุดแข็งมากที่สุดหากเทียบกับประเทศอื่นๆ ร่วมกัน ส่วนไทยเราเองนั้นนับว่ายังอยู่ในอันดับที่ดีเพียงแต่เสียเปรียบตรงที่ยังมีความอ่อนด้อยในเรื่องภาษาที่ใช้ในสื่อเท่านั้น ซึ่งหากถึงเวลาที่ประเทศของเราเข้าร่วมอาเซียนจริงๆ เชื่อได้เลยว่ารูปแบบในการบริหารและการเมืองภายในประเทศจะต้องเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง เพื่อสร้างความเป็นเสถียรภาพและความร่วมมือกันภายในภูมิภาค โดยเฉพาะในการความเป็นเสถียรภาพทางการเมืองที่จะต้องมีความมั่นคง ทั้งยังต้องสร้างพื้นฐานภายในประเทศเสียก่อนเช่น การให้การศึกษา , ความมีจิตสำนึกและรู้ถึงคุณค่าในทุกๆ ด้าน ร่วมไปถึงเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชากรภายในประเทศจะต้องเป็นไปด้วยดี สิ่งแรกที่ต้องปลูกฝั่งให้แก่ประชากรในประเทศก็คือการ รู้ถึงการให้เกรียติซึ่งกันและกันโดยเฉพาะกับประชากรจากประเทศเพื่อนบ้านของเราที่เข้าร่วมอาเซียน เพื่อสร้างความเป็นมิตรไมตรีเป็นหนึ่งเดียวกันนั้นเอง และสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กันกับการสร้างความเป็นเดียวกันของสมาชิกอาเซียนก็คือการรู้คุณค่าในทรัพยากรต่างๆ ทั้งที่ตนเองมีอยู่และบนโลกที่ใช้แล้วหมดไป ซึ่งแต่เดิมนั้นการร่วมมือของประชาคมอาเซียนได้มีความร่วมมือในด้านการเมืองของแต่ละประเทศสมาชิกมาเป็นเวลานานแล้ว ทั้งในเรื่องสนธิสัญญาต่างๆ เช่นการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีถ้าหากเกิดการขัดแย้งกันในด้านการเมืองภายในประเทศหรือกับประเทศสมาชิก นอกจากนนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความร่วมมือในเรื่องต่างๆ หากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่สามารถแก้ไขได้โดยง่าย จำเป็นต้องร่วมมือกันในการหาทางออกไม่เว้นแม้แต่การก่อการร้ายเช่นกัน จึงเรียกได้ว่านอกจากรูปแบบเศรษฐกิจจะต้องเปลี่ยนแปลงไปด้วยแล้ว จำเป็นต้องเปลี่ยนรูปแบบกฎหมายต่างๆ อีกด้วย ซึ่งพวกเราทุกคนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเตรียมพร้อมและรับมือกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่ใกล้จะถึงนี้

Continue Reading
communist-Governance-politics

คอมมิวนิสต์ หนึ่งในการปกครองที่มีมาตั้งแต่ในอดีต

            หากบอกว่าเป็นลัทธิก็ไม่น่าจะผิดนัก เพราะหลายๆ ท่านเองก็คงเคยจะได้ยินถึงลัทธิคอมมิวนิสต์อยู่บ่อยๆ โดยทั่วไปแล้วตามความเข้าใจเดิมของระบอบคอมมิวนิสต์ ก็คือการรวบรวมอำนาจเพียงหนึ่งมารวมไว้ที่ๆ พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ซึ่งจะแตกต่างจากประชาธิปไตยที่จะมีพรรคฝ่ายค้านที่ถูกแต่งตั้งจากจำนวนเสียงที่น้อยกว่าที่มาเป็นอันดับ 2 โดยพรรคที่ได้รับการยอมรับจากคนในประเทศจะสามารถใช้กำลังการทหาร หรือได้รับการสนับสนุนจากกองทัพอย่างเต็มที่เพื่อมีสิทธิภาพมากพอในการปกครองเทศของตนเอง ในสมัยอดีตรัสเซียเองก็เคยใช้ระบอบการปกครองนี้ ในการปกครองบ้านเมืองของตนเองในสมัยที่ยังเป็น “สหภาพโซเวียต” อยู่ แต่ต่อมาในวันที่ 12 ธันวาคม ปีพ.ศ.1993 รัสเซียได้เปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญใหม่ จึงเปลี่ยนตนเองให้เป็น “สหพันธรัฐ” ในปัจจุบัน แต่ก็ต้องยอมรับว่าระบอบการปกครองในรูปแบบของคอมมิวนิสต์ ยังมีให้เห็นอยู่ในหลายๆ ประเทศไม่น้อยเลย เช่น เกาหลีเหลือ เป็นต้น แต่หลายๆ คนก็ยังคงเข้าใจผิดเกี่ยวกับการปกครองระหว่าง ระบอบเผด็จการและระบอบคอมมิวนิสต์อยู่ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วระบอบเผด็จการนั้นความเด็ดขาดยังน้อยกว่าระบอบการปกครองในรูปแบบคอมมิวนิสต์อยู่มากพอสมควรเลย เพราะระบอบการปกครองในด้านการเมืองของคอมมิวนิสต์จะคอยควบคุมประชาชนในประเทศ รวมไปถึงเศรษฐกิจและการปกครองภายในประเทศจะต้องเป็นไปตามความต้องการของผู้นำคอมมิวนิสต์แต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น จึงไม่แปลกที่จะบอกว่าคอมมิวนิสต์ ก็คือระบอบการปกครองเผด็จการในแบบรูปเบ็ดเสร็จถ้วนทั่ว แต่ก็ใช่ว่าระบอบเผด็จการจะเป็นสิ่งไม่ดี และไม่เป็นประสบผลสำเร็จสะทีเดียว เพราะก็ยังมีบางประเทศที่ยังคงปกครองในรูปแบบนี้ และยังยึดมันการปกครองของตนอยู่อย่างเช่น “จีน” ซึ่งจีนถือว่าประสบความสำเร็จอย่างมากในด้านการปกครอง เพราะจีนสามารถนำรูปแบบการปกครองที่สามารถเข้าได้ดีกับประเทศของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะจีนมีแผ่นดินที่ใหญ่จึงทำให้การปกครองแบบคอมมิวนิสต์เป็นไปได้อย่างดีเยี่ยม และจีนยังได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของตนเองให้มีความคล่องตัวเช่น จีนจะไม่จำกัดเสรีภาพในเรื่องเศรษฐกิจนั่นเอง

Continue Reading
aristotle-inventor-laws

หนึ่งในแนวคิดด้านการเมืองของนักปรัชญาอย่าง อริสโตเติล

            ในยุคกรีซโบราณนั้นคงจะปฏิเสธไม่ได้ว่า กรีซมีความเจริญและความเป็นเลิศในด้านของความเป็นการเมืองและการปกครองอย่างสูงสุด จนประเทศมหาอำนาจอย่างโรมันหรือดินแดนใกล้เคียงนำแนวคิดเหล่านี้ไปปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองของตนเองในเวลาต่อมา โดยเฉพาะอาณาจักรโรมันที่ได้นำแนวความคิดของกรีซใช้ปกครองกับโรมนั้นเอง ซึ่งอิทธิพลต่างๆ ที่อริสโตเติลได้รับส่วนใหญ่ได้รับมาจากอาจารย์ของเขาอย่าง “เพลโต” แต่ถึงอย่างนั้น อริสโตเติลก็มีแนวความคิดที่แตกต่างกับ เพลโตที่เป็นอาจารย์ของตนเองอยู่พอสมควร ซึ่งอริสโตเติลมองว่าการส่งมอบอำนาจแก่คนๆ เดียวนับว่าเป็นสิ่งที่ผิดพลาดและไม่สมควร แต่ในขณะที่เพลโตมองว่าการรวมอำนาจให้แก่ผู้ที่มีความรู้มีสิทธิในการปกครองจะดีกว่า โดยอริสโตเติลกล่าวไว้ถึงการปกครองที่มีถึง 6 รูปแบบหลักๆ โดยแบ่งออกในด้านที่ดี 3 แบบ และไม่ดีอีก 3 แบบด้วยกัน รูปแบบที่ดีที่อริสโตเติลคิด 1.รูปแบบของราชาธิปไตย ที่มีประมุขหรือผู้ที่มีอำนาจปกครองแต่เพียงผู้ได้ แต่ทำเพื่อส่วนรวมไม่หาประโยชน์เข้าตนเอง 2.รูปแบบการปกครองอภิชนาธิปไตย โดยมีกลุ่มคนที่เป็นกลุ่มๆ หนึ่งเป็นตัวแทนของผู้คนที่แต่งตั้งตนเองขึ้นเอง มีใช้กันอย่างกว้างขวางในอดีต 3.รูปแบบการปกครองในแบบโพลิตี้ หรือการปกครองโดยกลุ่มคนที่มีจำนวนมากเข้ามาดูแลประเทศ โดยมีการจัดตั้งผู้บริหารต่างๆ จากเหล่าประชาชนจำนวนมาก โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นศูนย์กลางของกฎหมาย โดยการปกครองในรูปแบบนี้อริสโตเติลมองว่าเป็นรูปแบบที่ดีที่สุด และมีความยุติธรรมมากที่สุดเช่นเดียวกัน เนื่องจากด้วยการที่ได้รับการแต่งตั้งจากเหล่าประชากรในประเทศ และยังช่วยถ่วงดุลอำนาจต่างๆ จากประชาชนในประเทศด้วยกันเอง ต่อมาจะกล่าวถึงการปกครองในรูปแบบที่ไม่ดี 1.การปกครองของทรราชย์ ซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกันกับ ราชาธิปไตยแต่แตกต่างกันตรงที่ ทรราชย์จะนำผลประโยชน์ต่างๆ เข้าตนเองแทนที่จะทำเพื่อคนในประเทศ 2.คณาธิปไตย เป็นปกครองของกลุ่มคนเดียวไม่กี่คนแต่สรรหาผลประโยชน์เข้าองค์กรของตนเอง เพื่อความสุขและความสบาย 3.ประชาธิปไตย ถือว่าไม่แตกต่างกันมากนักกับรูปแบบของโพลิตี้ เพราะมันขึ้นอยู่กับความสมดุลในด้านอำนาจของคนในประเทศ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ชัดว่าแนวความคิดของ อริสโตเติลนับว่ามีความครอบคลุมตั้งแต่ในอดีตจนมาถึงปัจจุบันได้เป็นอย่างดีเยี่ยม […]

Continue Reading
rise-of-rome-empire-roman

รูปแบบการเมืองของ จักรวรรดิโรมันที่ยิ่งใหญ่ในอดีตกาล

       ในอดีตนั้นมีเพียงไม่กี่ประเทศที่จะยิ่งใหญ่จนกลายเป็นที่เล่าขานได้เท่า “จักรวรรดิโรมัน” อีกแล้ว ซึ่งตามประวัติศาสตร์แล้วปฏิเสธไม่ได้เลยว่าอาณาจักรโรมันนั้นยิ่งใหญ่ไพศาลเพียงใด โดยอาณาจักรโรมันได้รวบรวมดินแดนทั้งหมดในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนให้กลายมาเป็น จักรวรรดิโรมันขึ้นในเวลาต่อมา รวมทั้งยังมี 2 ดินแดน ตอนนั้นอย่างประเทศอังกฤษและเยอรมันในปัจจุบัน ซึ่งกฎหมายต่างๆ หรือแนวคิดที่โรมันได้รับส่วนใหญ่ถูกส่งต่อมาจากชาวกรีซ เพราะเวลานั้นนับว่ากรีซมีความเจริญรุ่งเรื่องอย่างมาก ถึงมากที่สุดในเรื่องความเป็นรัฐศาสตร์ เพราะกรีซมีกฎหมายที่หลากหลายและครอบคลุม บวกกับมีปรัชญาผู้ให้แนวคิดกำเนิดรูปแบบรัฐศาสตร์อยู่มากมาย จึงทำให้โรมันจำเป็นต้องรับแนวคิดนี้มาปรับเปลี่ยนให้เข้ากับการปกครองของประเทศตนเอง โดยแต่เดิมนั้นก่อนจะมาเป็นจักรวรรดิโรมันนั้น โรมันได้แบ่งการปกครองออกถึง 2 แบบด้วยกัน โดยในระยะแรกเริ่มนั้นได้มีการปกครองภายในกรุงโรมโดยใช้แนวคิด “สาธารณรัฐ” ซึ่งการปกครองแบบที่ว่านี้คือการกระจายอำนาจการปกครองให้แก่ประชาชน โดยมีตัวแทนวุฒิสมาชิกชั้นสูงคอยเป็นปากเสียง แต่ด้วยความที่อำนาจต้องกระจายไปทั่วทำให้ไม่เหมาะที่จะนำกฎเหล่านี้มาปกครองในรูปแบบของจักรวรรดิ เพราะในเวลาต่อมาโรมันเริ่มแพร่ขยายอาณาเขต จึงไม่ได้มีเพียงแค่โรมอีกต่อไปแล้วที่ต้องได้รับความดูแล ต่อมาในระยะที่สอง ยุคแห่งจักรวรรดิโรมันได้เริ่มถือกำเนิดขึ้นอย่างแท้จริง โดยเป็นในยุคของ ออกัสตัส ซีซาร์ ช่วงปีที่ 27 ก่อนคริสตกาล ออกัสตัสได้แต่งตั้งตนเองขึ้นให้เป็นใหญ่แต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น โดยอำนาจทุกอย่างเป็นของประมุขของจักรวรรดิ ให้ตนเองคือส่วนรวมของทุกอย่าง ในเวลานั้นโรมถือได้ว่าเป็นอาณาจักรที่เข้มแข็ง จนสามารถรวบร่วมดินแดนรอบตนเองได้ทั้งหมด จึงไม่แปลกที่จะมีหลายเชื้อชาติ หลายภาษาปะปนกัน และยากต่อการควบคุม โดยจากการศึกษามาตลอดในระยะเวลาหลายปีของเหล่า นักรัฐศาสตร์และวัติศาสตร์ได้กล่าวว่า อาณาจักรโรมันเกิดการล่มสลายเพราะระบบที่มีการให้สายเลือดเข้ารับการปกครองต่อจากผู้เป็นบิดา หรือสายเลือดเดียวกัน จึงทำให้มีกษัตริย์หลายองค์ปกครองประเทศด้วยความไม่เอาใจใส่ประเทศและประชาชนนั้นเอง การเมืองในยุคของเพลโต และความรุ่งเรืองในด้านการเมือง กรีซในอดีตขึ้นชื่ออย่างมากในเรื่องคิดค้นกฎหมายต่างๆ รวมไปถึงมีปรัชญาในด้านรัฐศาสตร์มากมาย อย่างเช่น […]

Continue Reading
revolution-of-china-new

การปฏิวัติที่เปลี่ยนแปลงการปกครองของ จีนไปตลอดกาล

      ก่อนที่จีนจะกลายมาเป็นมหาอำนาจอย่างทุกวันนี้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยซึ่งแต่เดิมนั้นจีนถูกปกครองโดยเหล่า “ราชวงศ์ชิง” ซึ่งแตกต่างจากปัจจุบันที่ปกครองโดยกึ่งรูปแบบของคอมมิวนิสต์ แต่ไม่ได้ควบคุมความเป็นอยู่ของประชาชนมากนัก หรือไม่ได้พยายามที่จะตีกรอบในเรื่องเศรษฐกิจเหมือนคอมมิวนิสต์ในประเทศอื่นๆ ซึ่งผู้ที่ริเริ่มแนวคิดที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของจีนนั้นคือ “ซุนยัดเซน” ที่ได้คิดค้นและก่อตั้งแนวคิดขึ้นมา 3 ประการในปี ค.ศ.1911 ได้แก่ 1.การโค่นล้มรัฐบาลแมนจูเพื่อที่จะก่อตั้งรัฐบาลของประชาชนในประเทศจีน 2.การจัดตั้งและสรรหาที่อยู่รวมไปถึงที่ดินไว้สำหรับทำมาหากินให้แก่ประชาชนในประเทศ 3.ต้องการจัดตั้งรัฐบาลตามระบอบสาธารณรัฐ ซึ่งทั้งหมดนี้ ดร.ซุน ยัดเซน ได้รับแนวคิดและแนวทางในการปรับเปลี่ยนประเทศจากชาติตะวันตก ซึ่งในเวลานั้นเองประเทศจีนถูกปกครองแบบระบอบขุนนาง โดยมีราชวงศ์ชิงที่กดขี่และเอาเปรียบประชาชนในเวลานั้น ทำให้ประชาชนในประเทศจำนวนไม่น้อยเลยที่มีความลำบากยากจน ซึ่งผิดกับชาวต่างชาติที่มาจากประเทศอื่นๆ เข้ามาหากินในประเทศจีนแต่กลับมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีกว่าคนในประเทศเสียอีก แล้วในขณะเดียวกันก็มีชาวจีนจำนวนไม่น้อยถูกเอารัดเอาเปรียบจากชาวต่างชาติเหล่านี้ จึงทำให้ซุนยัดเซนต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงและโค่นล้มอำนาจราชวงศ์ชิงให้เร็วที่สุดนั้นเอง แต่แล้วในความเป็นจริงในการปฏิวัติครั้งแรกนี้ ถือได้ว่าไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่คิดไว้นัก เพราะด้วยอะไรหลายๆ อย่าง เช่นจำนวนประชากรที่เยอะ และที่พื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลทำให้ยากที่จะควบคุมประชากรไว้ได้หมด บวกกับการที่มีฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ทำให้ต้องแบ่งแยกประชาชนออกเป็น 2 ส่วน ทำให้พอกลายเป็นนี้ประเทศจีนจึงต้องทำปฏิวัติครั้งที่ 2 ในอีกหลายปีต่อมา แต่ก็นับว่าการปฏิวัติในครั้งแรกนี้ถือเป็นก้าวแรกของการปกครองในประเทศจีนให้เดินไปในทิศทางที่ถูกต้อง

Continue Reading