การปกครองของไทยถูกแบ่งเป็นช่วงที่สำคัญคือ
ระยะที่ 1 ยุคก่อนสุโขทัย ในระยะก่อนปี พ.ศ. 1761 เขมรรุ่งเรืองและมีอำนาจในไทยมาก ในเขตสุวรรณภูมิ โดยมีแกนกลางอยู่ทางลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ในเมืองละโว้ เขมรมีการปกครองในระบอบราชาธิปไตย และพระมหากษัติจะส่งขุนนางไปดูแลเมืองบริวาร เมืองบริวารจะส่งส่วยแก่พระนครหลวง และยังมีบางถิ่นที่รอดพ้นจากการเป็นบริวารของเขมรปกครองตนเองเป็นนครรัฐ ผู้นำเป็นคนที่ได้รับเลือกจากประชาชน มีหลายเมืองได้แก่ เมืองสุโขทัย ศรีเทพและศร๊สัชนาลัย
ระยะที่ 2 คือยุคเมืองสุโขไทยตอนต้น พ.ศ.1761-1921 การปกครองในยุคนี้ได้วางรากฐานแบบการปกครองครัวเรือน ยุคสุโขทัยมีอาณาเขตที่มากมาย ในยุคสมัยของพ่อขุนรามคำแหง
ระยะที่ 3 คือยุคสุโขทัยตอนท้ายพ.ศ.1921-1981 อยู่ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 2 ของสุโขทัยได้ยอมอยู่ใต้การปกของกรุงศรีอยุธยา และได้แบ่งแยกสุโขทัยให้กลายเป็นสองส่วน บริเวณลุ่มแม่น้ำยมแล้วลุ่มแม่น้ำปิง
ระยะที่ 4 ยุคอยุธยาจนถึงสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึงรัตนโกสินทร์ พ.ศ.1981-2537 ในสมัยนั่นที่พระบรมรามาธิบดีได้วางระบบการปกครองใหม่จึงแบ่งให้เมื่ออื่นรับหน้ามอบหมายต่างๆโดยมีเสนาบดีทั้ง4เป็นผู้ดูแลได้แก่
ขุนเมือง มีหน้าที่รักษาความสงบและจับกุมโจรผู้ร้าย
ขุนวัง มีหน้าที่เกี่ยวกับวังและตัดสินคดีต่างๆ
ขุนคลัง ทำหน้าที่เกี่ยวกับคลังและภาษีอากรต่างๆ
ขุนนา รับผิดเกี่ยวกับการเกษตร
จวบจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการยกร่างกฎหมายใหม่และสั่งให้ยกระบบทาสและทำการติดต่อกับประเทศต่างชาติเพื่อทำรถไฟโดยได้ทำสัญเบาริ่งและได้สร้างสาธารณูปโภคต่างๆจนถึงระบบสื่อสารคมนาคมทั้งหมด
ระยะที่ 5 กรุงรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบันที่เรียกว่าประเทศไทย 2537 – ปัจจุบัน ได้มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นประชาธิปไตยในที่สุดและมีการพัฒนาเกิดขึ้นมาโดยตลอดจนเป็นประเทศไทยทุกวันนี้